๑. การออกเสียง ควรให้ดังพอเหมาะกับจำนวนผู้ฟัง ตอนใดเน้นเสียง เสียงเบา เสียงอ่อนโยน เสียงเศร้า เสียงธรรมชาติ ฯลฯ ก็ควรทำเสียงให้เป็นไปในทำนองนั้น เพื่อให้ผู้ฟังเกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับเรื่องราวในตอนนั้นๆ
วันพุธที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2559
นิทานเวตาลเรื่องที่10
ความเป็นมา
นิทานเวตาล ฉบับนิพนธ์ พระราชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ มีที่มาจากวรรณกรรมสันสกฤตของอินเดีย โดยมีชื่อเดิมว่า “เวตาลปัญจวิง อ่านต่อ
การเขียนเรียงความ
การเขียนเรียงความเป็นพื้นฐานของการเขียนที่สามารถนำเอาไปประยุกต์ใช้ในการเขียนในรูปแบบอื่น
เช่น การเขียนจดหมาย การเขียนนิยาย หรือการเขียนบันทึกต่างๆ
ต่างก็ใช้หลักการของการเขียนเรียงความ ซึ่งเป็นศิลป อ่านต่อ
มารยาทในการพูด
มนุษย์จำเป็นต้องมีการติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน
เพื่อถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึกให้ผู้อื่นรับรู้
ทักษะหนึ่งที่ใช้ในการสื่อสาร คือ การพูด ซึ่งมีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิต
และสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกัน จึงจำเป็นต้องอาศัยจรรย อ่านต่อ
มารยาทในการฟัง
อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องของบทละครลำ เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดีทั้งกลอน ทั้งความ และทั้งกระบวนการที่ตะเล่นละครประกอบการ และยังเป็นหนังสือที่ดี ในทางที่ตะศึกษาประเพณีไทยสมัยโบราณ แม้บทละครเรื่องอิเหนาจะมีเค้าโครงมาจากนิทาน อ่านต่อ
นิราศนรินทร์คำโคลง
ความเป็นมา
นิราศ เป็นงานประพันธ์ประเภทหนึ่งของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เท่าที่ปรากฏหลักฐานในปัจจุบัน นิราศเรื่องแรกของไทยนั้นคือ โคลงนิราศหริภุญชัย ซึ่งแต่งในสมัยกรุงศรีอ อ่านต่อ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)